7 เรื่องของเงิน ที่หล า ย คน มักเข้าใจผิด และมองข้าม

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการใช้ชีวิต กับบทความ 7 เรื่องของเงิน ที่หล า ย คน มักเข้าใจผิด และมองข้าม ไปดูกันว่าทำไมควรเรียนรู้และทำความเข้าใจกับเรื่องเงินอยู่ตลอ ดเวลา

1 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียว พึ่งแค่เงินจากงานประจำก็พอ

ความจริง = อาจจะพอ แต่ไม่ได้หมายความว่าต้องหยุดแค่นี้

มันไม่ผิดหรอ กหากเราจะรู้สึกพอใจกับเงินเดือนของเรา รู้สึกว่าเงินแค่นี้ก็พอใช้แล้ว อยู่คนเดียวนี่นา สบายมาก! แต่สำหรับใครที่รู้สึกว่า เฮ้ย มันต้องมีวิธีเพิ่มรายได้ทางอื่นบ้างสิ ( นอ กจากย้ายงาน ) แน่นอนว่ามีอยู่แล้ว เพราะนอ กจากงานประจำ หากใครมีงานอ ดิเรกที่ชื่นชอบก็สามารถลองหางาน Part-Time ทำเพื่อหารายได้เสริมเพิ่มเข้ามาได้ ถ้าโชคดี ไม่แน่ว่า

วันหนึ่งรายได้จากงานเสริมอาจจะพุ่งแซงรายได้จากงานประจำก็เป็นได้ ยิ่งยุคสมัยนี้มีเทคโนโลยีมาคอยช่วยเหลือ ไม่ว่าใครก็สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนี้ในการทำธุรกิจหรือ ทำตัวเองให้เป็นที่รู้จักได้ ลองดูค่ะ ใครมีดีอะไรก็งัดมาโชว์ให้โลกเห็นกันไปเลย อีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มรายได้เราทางอ้อมคือ การไปฝึกทักษะใหม่ๆ หาความรู้เพิ่ม วิธีนี้อาจจะไม่ได้เพิ่มรายได้ ให้เราแบบปุบปับทันใด แต่เราจะต้องใช้เวลาในการฝึกฝนจนกว่าจะชำนาญ เมื่อนั้นแหละ ทักษะนี้ก็จะกล า ย เป็นสินท รั พ ย์ของเรา ที่สามารถนำไปสร้างรายได้เพิ่มได้อีก

2 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียว ควบคุมเรื่องเงินได้ทุกอย่ าง

ความจริง = เหตุการณ์ฉุ กเฉิ นเกิดขึ้นได้เสมอ

แม้เราจะอยู่คนเดียว ตัดสินใจหล า ย ๆ เรื่องคนเดียว ไม่ต้องรอถามใคร แต่อย่ าลืมว่าโลกนี้ยังมีพ ลั งอำน า จลึกลับที่อยู่เหนือ การควบคุมของเรา จู่ๆ​ โช คชะต านึกอย ากให้รถเราเสีย ตกงาน เจอวิ ก ฤ ตเศรษฐกิจ ป่ ว ยหนัก แฟนทิ้ง ( เดี๋ยวๆ ไม่ใช่ละ ก็บอ กแล้วว่าจะเป็นโสด ) ก็ย่อมได้ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ เราควรมีเงินฉุ กเฉิ นเผื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น แนะนำว่าให้เตรียมเงินไว้ประมาณ 3 – 6 เท่าของค่าใช้จ่ายต่อเดือน เพราะถ้าเรามีเงินสำรอง เราก็ยังสามารถใช้เงินส่วนนี้จัดการค่าใช้จ่ายไม่คาดฝัน หรือ พยุงชีวิตในช่วงที่ไม่มีรายได้ได้ ถือว่าเป็นการต่อลมห า ยใจให้ตัวเอง เพื่อที่จะได้เริ่มตั้งหลักใหม่อีกครั้ง

3 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียว ฝากเงินไว้ในธนาคารเฉยๆ ก็พอ

ความจริง = เงินที่เก็บไว้ในธนาคารเฉยๆ โดนเงินเฟ้อ กัดกินจน มูลค่าลดลงไปแล้วจ้า

อัตราดอ กเบี้ ยเงินฝากออมท รั พ ย์อยู่ที่ประมาณ 0 50% ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยที่ผ่าน มาของปี 2019 อยู่ที่ 0 80% สมมติว่าอัตรานี้คงที่ไปอีกเป็นเวลาหนึ่งปี นั่นหมายความว่าหากเรา ฝากเงิน 10,000 บาทปีนี้ ปีหน้าเราจะมีเงินทั้งหมด 10,050 บาท แต่สินค้าที่ปีนี้ร า ค า 10,000 บาทจะเพิ่มร า ค าเป็น 10,080 บาทในปีหน้า แสดงให้เห็นว่าอำนาจซื้ อของเรามีน้อยลง

เพราะมูลค่าเงินลดลงนั่นเอง เอาละสิ ฟังดูน่าก ลั วแล้ว หากไม่อย ากปล่อยเงินแช่ไว้เฉยๆ แบบนี้ ลองแบ่งเงินจากการฝากธนาคารไว้เฉยๆ ไปล งทุ นบ้าง ใครที่เพิ่งเริ่มต้น อาจจะลอง ซื้ อ LTF RMF กันก่อน เพราะนอ กจากจะเป็นการสร้างวินัยในการออมเงินแล้ว เรายังได้ประโยชน์จากสิทธิ์ในการลดหย่อนภาษี และยังถือเป็นการล งทุ นที่สามารถสร้างผลตอบแทนระยะย าว

ให้เราได้ด้วย โดย LTF นั้นจะเป็นการล งทุ นในหุ้นไทย ส่วน RMF จะมีความหลากหล า ย ในด้านสินท รั พ ย์มากกว่า และจะมีระยะเวลาการลงทุนที่ย าวนานกว่า จึงเหมาะสำหรับการล งทุ นเพื่อ

การเกษียณใครที่สนใจอย ากรู้เกี่ยวกับ LTF RMF เพิ่ม ลองอ่ า นบทความนี้ดู ข้อควรรู้ การล งทุ นใน LTF & RMF และถ้ายังไม่จุใจ ก็สามารถเสิร์ชคำว่า LTF RMF ในเว็บ FINNOMENA ได้เลย มีความรู้เพียบส่วนใครที่เริ่มคุ้นเคยกับการล งทุ นแล้ว ก็สามารถแบ่งเงินไปล งทุ นในสินท รั พ ย์ที่หลากหล า ย ขึ้น อย่ าง กอ งทุ นรวม หรือ หุ้ น ก็ได้ทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับระดับความเสี่ย งที่ เรารับได้และสไตล์การล งทุ นของแต่ละคนเลย

4 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียวตอนแก่ ไปอาศัยอยู่กับญาติ/พี่/น้อง ก็ได้

ความจริง = ญาติพี่น้องไม่ได้ใจดีเสมอไป

ข้อเสียของคนโสดอย่ างหนึ่งคือเมื่อแก่ตัวไปแล้ว ไม่มีลูกหลานคอยดูแลเนี่ยแหละ บางคนอาจจะคิดว่า อ๋อ งั้นฉันไปอยู่บ้านลูกพี่ลูกน้องละกัน บ้านน้องบ้านพี่ก็ได้ เดี๋ยวๆๆ ตื่น! ไม่ใช่ญาติๆ ทุกคนจะต้อนรับเราให้เป็นส่วนหนึ่งของบ้านเขา เพราะพวกเขาอาจจะมีครอบครัวของตัวเอง ในกรณีที่ญาติ/เพื่อนอยู่คนเดียว เราคิดจริงๆ เหรอว่าเขาจะอย ากดูแลรับผิดชอบชีวิตเรา ในเมื่อเรา

ยังอย ากเป็นโสด ยังไม่อย ากจะมีภาระรับผิดชอบคนอื่นเลย ( แต่หากเจอใครที่พร้อมจะดูแลซึ่งกันและกัน ถือว่าโชคดีมาก ) ส่วนพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่น่ะเหรอ ลืมไปได้เลย เพราะพวกเขา ไม่ได้อยู่กับเราตลอ ดไปนะไม่ได้การละ ถ้าอย ากจะเป็นโสด แม้จะแก่แต่เราต้องยืนได้ด้วยแข้งขาตัวเอง แต่ๆๆ เราไม่จำเป็นต้องอยู่คนเดียว ( งงมั้ย ) เพราะถ้าอายุมากๆ แล้วต้องอยู่คนเดียว

เราจะทำยังไงหากเกิดเหตุฉุ กเฉิ น? หากป่ ว ยกะทันหัน? สิ่งที่คนโสดควรเตรียมวางแผนไว้เลยคือที่อยู่อาศัยและผู้ดูแลย ามแก่เฒ่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็จะมาพร้อมค่าใช้จ่ายเช่นกัน ( เห็น มั้ยว่าการเป็น โสดไม่ได้ลดภาระการใช้เงินเลย ) การบริการเหล่านี้แบ่งเป็นระดับด้วยนะ กล่าวคือ หากอย ากอยู่ในสถานที่ดีๆ มีผู้ดูแลพร้อม มีสิ่งอำนวยความสะดวกพร้อม ก็ต้องจ่ายแพงกันหน่อย

สำหรับใครที่อย ากจะเห็นภาพรวมคร่าวๆ ว่าเราต้องใช้เงินเท่าไรสำหรับบริการเหล่านี้ เราได้ลองคำนวณค่าใช้จ่ายและจำนวนเงินล งทุ นที่ต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้ าหม า ย ในบทความนี้ เกษียณโสดแบบไม่โดดเดี่ยว ต้องเตรียมเงินไว้เท่าไร?

5 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียว ไม่มีค่าใช้จ่ายครอบครัว

ความจริง = เรายังมีพ่อแม่ญาติพี่น้องให้ดูแล

แม้เราจะไม่มีครอบครัวใหม่ แต่เราก็มีครอบครัวเดิมของเราให้ดูแล ที่ชัดเจนเลยคือคุณพ่อคุณแม่ที่เราควรจะตอบแทนบุญคุณ และแม้ว่าญาติพี่น้องจากข้อข้างต้นจะไม่ไยดีเราถึงขนาดให้ เราไปพักอาศัยอยู่ด้วย แต่ในหล า ย ๆ กรณีพวกเขาก็ยังถือว่าเป็นญาติพี่น้องที่มีสัมพันธ์ฉันท์มิตรอันดีงามกับเรา เห็นกัน มาตั้งแต่ยังเด็กยังเล็ก จึงอาจจะมีโอกาสที่เราต้องช่วยเหลือเรื่อง

เงินบ้างเป็นครั้งคราว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กๆ อย่ างการแจกอั่ งเ ป าให้หลานๆ จนไปถึงการช่วยออ กค่าใช้จ่ายหากใครป่ ว ย มันแสดงให้เห็นถึงน้ำใจและความเอาใจใส่น่ะ เห็น มั้ยว่าการเป็นโสด ไม่ได้หมายความว่าเราอยู่คนเดียวโดยแท้จริง

6 สิ่งที่คิด = อยู่คนเดียว ค่าใช้จ่ายส่วนตัวไม่เยอะ

ความจริง = เงินหมดไปกับค่าสังสรรค์และกิจก ร ร มต่างๆ

เพราะคนโสดไม่มีภาระหน้าที่ที่จะต้องดูแลครอบครัว และมีแนวโน้มที่จะเหงาได้ง่าย คนโสดจึงมีโอกาสที่จะใช้เงินเพื่อ ดลบันดาลความสุขสบายและความบันเทิงให้ตัวเอง ซึ่งค่าใช้จ่าย สำหรับกิจก ร ร มเหล่านี้ก็ไม่ได้น้อยๆ เลย ตัวอย่ างเช่น บางคนอาจจะชอบไปเที่ยว ชอบไปทานร้านอ าห า รดีๆ ชอบไปปาร์ตี้กับเพื่อน ชอบไปดูคอนเสิร์ต ไปๆ มาๆ หากใช้เงินไปกับการสังสรรค์เยอะ เผลอๆ ค่าใช้จ่ายสามารถพุ่งสูงไม่แพ้คน มีครอบครัวเลยทีเดียว

7 สิ่งที่คิด = แค่เก็บเงินก็พอ ไม่ต้องจัดสรรเงินเก็บหรอ ก

ความจริง = หากไม่จัดสรรเงินเก็บให้ดี แผนการเงินก็พังได้

บางคนอาจจะคิดว่า แค่เก็บก่อนใช้ หรือ ใช้เงินเหลือ ก็โอเคแล้ว แต่จริงๆ แล้วการวางแผนการเงินที่ดีมีสิ่งที่ต้องทำมากกว่านั้น หากเราใช้/เก็บเงินโดยที่ไม่ได้จัดสรรให้เข้าที่เข้าทาง เราจะไม่เห็นภาพรวมของสถานะการเงินสำหรับแต่ละเป้ าห ม า ยของเราเลย

ที่มา f i n n o m e n a, f a h h s a i