การนอนก ร นเป็นอาการที่สำคัญของภาวะหยุดห า ยใจขณะหลับ ซึ่งมีสาเหตุมาจากอวัยวะในระบบห า ยใจส่วนต้นบางส่วนแคบลงสามารถตรวจความรุน
แ ร งได้ผ่านการทำ Sleep Test เพื่อหาระดับความเ สี่ ย งที่เป็นอั น ตร า ย หากพบว่ามีอาการไม่รุนแ ร งสามารถปรับพฤติก ร ร มการนอนเพื่อช่วยให้อาการดีขึ้นได้
นอนก ร นเกิดจากอะไร
เกิดจากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อบริเวณค อหอย และผนังลำค อขณะหลับ ทำให้เกิดการอุดกั้นระบบทางเดินห า ยใจในบางจุดจนเกิดการสั่นสะเทือนของกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อ เพดานอ่อน
ผนังค อหอย โคนลิ้น รวมไปถึงลิ้นไก่ เมื่อระบบทางเดินห า ยใจแคบลงการห า ยใจผ่านบริเวณดังกล่าวจึงทำให้เกิดเ สี ยงกล า ยเป็นการนอนก ร น
ในที่สุด นอ กจากนี้ยังสามารถรุนแ ร งต่อ การห า ยใจทำให้ไม่สามารถห า ยใจได้ชั่ วขณะหนึ่งหรือเรียกว่า ภาวะหยุดห า ยใจขณะหลับ
เมื่อนักวิท ย า ศาสตร์จากมหาวิท ย า ลัยฮาร์เวิร์ดในสห รั ฐ อเมริกา พบว่า ก า ร นอนหลับที่มีภาวะหยุดห า ยใจ ชั่ ว คราว
หรือถูกขัดจังหวะในระหว่าง ก า ร นอนจนทำให้เกิด ก า ร ก ร นนั้น มีความเชื่อมโยงกับ ก า ร พัฒนาไปสู่ ก า ร เป็น อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ ได้
โดยผล ก า ร ศึกษาพบว่า ผู้ที่มีปัญหาใน ก า ร นอนหลับ มักจะสูญเ สี ย ก า ร ทำ ง า น ในส่วนของความคิดหรือความทรงจำไป
ขณะเดียวกัน หากมียีนที่เกี่ยวข้ องกับ ก า ร เกิด โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ ที่เรียกว่า APOE -ε4 allele ร่วมด้วย
ก็จะยิ่งมีความเ สี่ ย งใน ก า ร พัฒนาสู่ ก า ร เป็น อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ มากขึ้น ทั้งนี้ จาก ก า ร วิเ ค ร า ะห์กลุ่ม
ตัวอ ย่ าง 1,752 คน ซึ่งมีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 68 ปี ด้วย ก า ร ให้ตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับรูปแบบ ก า ร นอนหลับของตัวเอง
จากนั้น มาประเมินผลด้าน ก า ร จดจำและ ก า ร รับรู้ พบว่าผู้ที่มีปัญหาใน ก า ร นอนก ร นเ สี ยงดัง ห า ยใจลำบาก
หรือมีภาวะหยุดห า ยใจขณะนอนหลับ จะเพิ่มโอกาสใน ก า ร เป็น โ ร ค ส ม อ งเ สื่ อ มได้
นอ กจากนี้ ทีมวิจัยยังพบด้วยว่า ภาวะที่เลือ ดข า ดออ กซิเจนในช่วงกลางคืน และภาวะที่มีอา ก า ร ง่วงในช่วงกลางวัน ล้วน
มีความเกี่ยวข้ องกับความจำและความสนใจต่างๆ ที่ถดถอยลง อีกทั้งยังทำให้คิดช้าลง และมีสมาธิน้อยลงด้วย
ที่มา poobpub petcharavejhospital