วันนี้เราอย ากที่จะพาเพ่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการขับรถช่วงหน้าร้อนให้ปลอ ดภั ย กับบทความ 8 วิ ธีขับรถหน้าร้อนให้ ไม่หัวร้อน ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง
เทคนิคขับรถหน้าร้อน ที่คน มีรถต้องรู้!
อากาศในบ้านเรา หากจะให้คำนิย ามคงมีแต่ ‘ หน้าร้อน’ และ ‘ ร้อน มาก’ เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเดือนเมษายนของทุกปี ที่อุณภูมิร้อนระอุ แผดเผาไอร้อนขึ้น มาให้ได้สัมผัสกันอย่ างต่อเนื่อง จนทำให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่มีอาการอ่อนเพลีย ไม่สบายต ามๆกัน ที่สำคัญผู้ที่ต้องขับรถในหน้าร้อนเป็นประจำ ไม่ว่าจะเดินทางไปทำงาน ขับรถต่างจังหวัด หรือออ กทริปท่องเที่ยว จะต้องมีวิธีช่วยคล า ยร้อนทั้งตัวบุคคลและตัวรถ เพื่อให้การขับขี่ปลอ ดภั ยตลอ ดการเดินทาง ซึ่งวันนี้ khaorot com เรามีข้อควรปฏบัติสำหรับขับรถในหน้าร้อน มาฝากผู้ใช้รถทุกท่านครับ
ดูเพิ่มเติม : ภาษีรถยนต์ ร า ค า
1 ตรวจสอบสภาพรถ
อันดับแรกที่ต้องทำคือ ตรวสอบสภาพรถให้พร้อมสำหรับการขับขี่ ไม่ว่าจะเป็นระบบหล่อเย็น หม้อน้ำ ระบบแอร์ และน้ำย าแอร์ หากมีจุดไหนรั่วซึม หรือพร่อง ควรทำการแก้ไขและเติมน้ำย าให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมทันที
2 เช็คย างรถยนต์
หน้าร้อนแบบนี้ อุณหภูมิบนท้องถนนจะสูงมากกว่าปกติ ทำให้ย างมีการขย ายตัวมากขึ้น ส่ งผลให้ย างรถบวมและหมดสภาพเร็วกว่ากำหนด ซึ่งอาจระเบิดกลางทางได้หากไม่ตรวจเช็คให้ดี หากพบว่าย างหมดสภาพแล้วควรเปลี่ยนเส้นใหม่เพื่อความปลอ ดภั ย และควรเติมแรงดันลมย างให้มากกว่าปกติราว 2-3 ปอนด์ เมื่อต้องขับรถทางไกล ซึ่งจะช่วยป้องกันการบิดตัวของย างได้ และจุดที่สำคัญคือ ไม่ควรลดแรงดันลมย าง เพราะหากย างอ่อนจะทำให้แก้มย างบิดตัวและร้อนง่ายกว่าสภาวะปกติ ส่ งผลให้แรงดันภายในย างสูงขึ้นจนเกิดย างระเบิดได้
3 เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเบรก
การแตะเบรกแต่ละครั้งย่อมทำให้เกิดความร้อนขึ้น มา กอรปกับความร้อนจากภายนอ ก(อากาศและผิวถนน) ส่ งผลให้ผ้าเบรกและระบบเบรกร้อน มากกว่าปกติ น้ำมันเบรกจึงเสื่อมสภาพเร็วขึ้น ดังนั้นควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเบรกต ามระยะที่กำหนดสำหรับรถที่ใช้งานไม่มาก หรือเปลี่ยนก่อนระยะกำหนดหากเป็นรถที่วิ่งส่ งสินค้าและผู้โดยสารเป็นประจำ
4 คล า ยร้อนให้รถ ก่อนเดินทาง
สำหรับใครที่ต้องจอ ดรถต ากแดด ก่อนออ กรถควรปรับอุณหภูมิทั้งภายนอ กภายในให้ใกล้เคียงกันก่อน หากเป็นรถรุ่นใหม่ร า ค าแพงอาจมีฟังก์ชั่นกดสต าร์ทรถ พร้อมเปิดระบบปรับอากาศล่วงหน้าก่อนผู้ขับถึงตัวรถแบบสบายๆ แต่ถ้าเป็นรถทั่วไป สามารถคล า ยร้อนให้รถได้โดยการ
เปิดประตูรถทิ้งไว้ประมาณ 1 – 2 นาที หรือลดกระจกด้านหน้าและเปิด-ปิดประตูด้านหลัง 4-5 ครั้งเพื่อระบายอากาศ
เปิดกระจกทุกบานก่อนสต าร์ทเครื่องยนต์
ไม่ควรเปิดระบบปรับอากาศเย็นสุดทันที ให้รอจนกระทั่งอุณหภูมิภายนอ กและภายในห้องโดยสารใกล้คียงกัน จึงค่อยปรับไล่ระดับความเย็น
ไม่หันช่องแอร์ตรงกับกระจก เพื่อป้องกันอันตรายจากความเสียห า ย ที่มาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแบบฉับพลัน
5 แว่นกันแดด อุปกรณ์ที่ควรมีติดรถ
แสงแดดจ้าในช่วงกลางวัน โดยเฉพาะตอนเที่ยง มักจะทำให้สายต าพร่าและเมื่อยล้าได้ง่าย ซึ่งหล า ยครั้งมักเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน โดยสารมารถป้องกันได้ด้วยการสวมแว่นกันแดดที่ได้มารฐาน เพื่อลดความจ้า และกรองแสงให้เหมาะสมกับสายต า จะช่วยให้การมองเห็นชัดเจนขึ้น
6 จอ ดพักเป็นระยะ
การขับในสภาพอากาศที่ร้อนระอุต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้ร่างกาย สมองและสายต าเหนื่อยล้าได้ง่าย จึงควรหาที่จอ ดพักเป็นระยะทุก 150-200 กิโลเมตร หรือทุก 2 ชั่ วโมง เพื่อรีเฟรชตัวเองให้ตื่นตัวอยู่ตลอ ดเวลาและให้เครื่องยนต์ได้ระบายความร้อน หากเพลียและง่วงนอน มากก็ไม่ควรฝืนขับต่อไป ควรหาที่จอ ดสำหรับนอนงีบสักพัก แม้จะถึงจุดหมายช้า แต่ว่าถึงอย่ างปลอ ดภั ย
7 ทำอย่ างไรเมื่อเกิดภาพลวงต า
ภาพแอ่งน้ำลวงต า ที่ผู้ขับมักพบบนพื้นถนนแล้วหักหลบกันนั้น แท้จริงแล้วเป็นเพียงการหักเหของแสง ซึ่งอัตรายมากถ้าหักรถหลบหรือหยุดรถกระทันหันขณะที่ขับด้วยความเร็วสูง เพราะรถที่ขับต ามมาอาจหยุดไม่ทันหรือทรงตัวลำบาก ควรขับด้วยความเร็วปกติ ไม่เร่งแซง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
8 ‘ เครื่องร้อน’ ระหว่างขับขี่
รถยนต์บางรุ่นจะมีเกจวัดความร้อนให้เห็นบนหน้าจอมาตรวัด ซึ่งผู้ขับสามารถเฝ้าระวังได้เอง แต่สำหรับรุ่นไหนที่ไม่มี ต้องคอยสังเกตุดูว่าอุณหภูมิในรถร้อนขึ้นหรือไม่ แอร์ไม่เย็น หรือมีสัญลักษณ์ ‘ ความร้อน’ โชว์ ควรหาที่จอ ดรถทันทีเพื่อหาสาเหตุ โดยส่วนใหญ่มักเกิดจาก ‘ หม้อน้ำแห้ง’ นั่นเอง ควรเปิดกระโปรงรถเพื่อช่วยระบายความร้อน แต่ต้องระวังหากมีควันขึ้นที่ฝากระโปรงรถ ห้ามเปิดออ ก ต้องรอจนกว่าเครื่องยนต์เย็นลง และห้ามเปิดหม้อน้ำขณะที่เครื่องยนต์ร้อนจัด เพราะอาจได้รับอันตรายจากน้ำร้อนที่เดือ ดพุ่งออ กมา เมื่อเครื่องยนต์เย็นลงแล้วจึงค่อยๆเปิดฝาหม้อน้ำและเติมน้ำลงไปทีละนิดต ามจำนวนที่กำหนด หลังจากนั้นค่อยขับรถออ ก
เทคนิคเหล่านี้ จะช่วยให้คุณสามารถเดินทางด้วยย านพาหนะคู่ใจ ได้อย่ างปลอ ดภั ยตลอ ดหน้าร้อน ไม่ว่าจะเส้นทางใกล้หรือไกลก็ไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไปครับ
ที่มา khaorot