คนเราสามารถมีเ งิ นเก็บได้ทั้งๆที่ยังเป็นห นี้ ถ้าหากรู้จักวางแผนการเ งิ นตัวเอง และวันนี้เราก็จะพามาดูกันว่าทำอ ย่ างไรถึงจะมีเ งิ นเก็บ ถึงจะมีห นี้ก็ยังเก็บเ งิ นได้ ใครที่อย ากจะมีเ งิ นเก็บลองนำวิธีเหล่านี้ไปใช้กันดู เอาเป็นว่าเราไปดูกันดีกว่าว่าต้องทำอ ย่ างไร
1. จัดการห นี้สินอ ย่ างเป็นระบบ
อุปสรรคที่สำคัญอ ย่ างหนึ่งของความมั่งคั่ง ก็คือห นี้สิน จึงต้องจัดการกับปัญหาห นี้สินให้เป็นระบบก่อน กัดฟันใช้ห นี้จำนวนน้อยๆ ก่อน จะได้ล ดภาระห นี้สินในเดือนต่อๆ ไปให้ล ดน้อยลง เริ่มจากเมื่อได้เ งิ นก้อนใหญ่อ ย่ างโบนัส หรือเ งิ นจากการทำงานพิเศษ ให้นำมาปิดห นี้สินที่มียอ ดน้อยๆ ก่อน ส่วนห นี้ที่มียอ ดสูงๆ ก็จ่ายเพียงขั้นต่ำไปก่อนเพื่อประคองตัว จากนั้นเมื่อห นี้สินก้อนเล็กๆ หมดไป ก็จะทำให้เหลือเ งิ นในแต่ละเดือนเยอะขึ้น และค่อยทยอยจ่ายห นี้ก้อนใหญ่ต่อไป
2. เปลี่ยนพฤติก ร ร มการใช้เ งิ น
สำรวจพฤติก ร ร มของตัวเองว่า มีอะไรที่เป็นอุปสรรคต่อ การเก็บเ งิ น อ ย่ างเช่น ชอบใช้เ งิ นเกินตัว จนเป็นสาเหตุที่ทำให้มีห นี้สิน มีนิสัยชอบสร้างห นี้ ชอบใช้ของเกินฐานะ หรือหมดเ งิ นกับของที่ไม่จำเป็น คุณจะต้องแก้ไขพฤติก ร ร มเหล่านี้โดยด่วน ตัดทอนการใช้จ่ายบางอ ย่ างออ กไป
3. ใช้เ งิ นให้น้อยลง ประหยัดให้มากขึ้น
จากการประหยัดค่าใช้จ่ายเล็กๆ น้อยๆ เช่น ปิดไฟดวงที่ไม่จำเป็น ประหยัดน้ำ เพื่อล ดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับค่าน้ำ-ค่าไฟประจำเดือน ใช้โทรศัพท์แบบเติมเ งิ น แทนการใช้ร า ยเดือน และใช้เท่าที่จำเป็น ซื้ อ กับข้าวมาทำเอง และทำอาหารไปกินที่ทำงาน อร่อยแถมยังได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์อีกด้วย เลือ กซื้ อของล ดร า ค า แต่ต้องพิจารณาดูแล้วว่า เป็นของที่จำเป็นต้องใช้จริงๆ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ อของเข้าบ้านได้อีกเพียบ
4. ปรับต ารางการเ งิ นเ สี ยใหม่
สำรวจร า ยรับ-ร า ยจ่ายในแต่ละเดือน เพื่อให้รู้สถานะทางการเ งิ นที่แท้จริง จะได้วางแผนใช้เ งิ นและออมเ งิ นได้เหมาะกับตัวเอง เพราะมีหล า ยคนที่ออมเ งิ นไม่ตรงกับสไตล์การใช้ชีวิต ทำให้เ สี ยเ งิ นไปกับเรื่องไม่จำเป็น และเป็นห นี้เพิ่มขึ้น
เช่น บอ กว่าให้ออมเ งิ น 10เปอร์เซน ของเ งิ นเดือน ซึ่งถ้าหากคุณมีเ งิ นเดือนประมาณ 1.5 หมื่นบ า ท แต่มีห นี้เกินกว่า 40เปอร์เซน ของเ งิ นเดือน คือ 6,000 บ า ท เท่ากับเหลือเ งิ นใช้ 9,000 บ า ท ซึ่งที่เหลือนี้คุณต้องจ่ายให้กับค่าใช้จ่ายประจำในแต่ละเดือน
อ ย่ างค่าบ้าน 3,000 บ า ท ค่าโทรศัพท์ 600 บ า ท ค่าน้ำค่าไฟ 800 บ า ท ส่งเ งิ นให้ครอบครัว 2,000 บ า ท รวมๆ แล้วคุณเหลือเ งิ นใช้ทั้งเดือนเพียง 2,600 บ า ทเท่านั้น ซึ่งเมื่อต้องหักเ งิ นออม 10เปอร์เซน ของเ งิ นเดือน ก่อนที่จะใช้จ่ายอ ย่ างอื่น ก็เท่ากับว่าเ งิ นในแต่ละเดือนของคุณ จะติดลบและไม่พอใช้แน่นอน อาจต ามมาด้วยการเริ่มต้นเป็นห นี้ และคุณภาพชีวิตในแต่ละวันก็ไม่ดีด้วย
5. ตั้งเป้าหมายในการออมเ งิ น
สัญญากับตัวเองไว้ว่า ภายใน 1 ปี จะต้องมีเ งิ นเก็บเท่าไหร่ เพื่อที่จะได้มีแรงจูงใจในการเก็บเ งิ น โดยอาจจะทำเป็นสมุดจดบันทึก เพื่อให้เห็นพัฒนาการของจำนวนเ งิ นเก็บในแต่ละวัน หรือแต่ละสัปดาห์เพิ่มมากขึ้นแค่ไหน และต้องเก็บเ งิ นอีกเท่าไหร่ จึงจะถึงเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ ทำไปเรื่อยๆ ก็จะติดนิสัยรักการออมได้ในที่สุด
6. เริ่มเก็บเ งิ นจากจุดเล็กๆ
ช่วงเริ่มต้นที่เ งิ นเดือนไม่มาก และยังมีห นี้สินล้นพ้นตัว อาจจะต้องเริ่มเก็บเ งิ นจากสิ่งเล็กๆ ก่อน เช่น เ งิ นเหรียญที่เหลือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน หยอ ดใส่กระปุกออมสินเอาไว้ในทุกๆ วัน หรือเก็บเศษของเ งิ นเดือนในแต่ละเดือน เช่น เ งิ นเดือน 15,650 บ า ท ให้เก็บเอาไว้ 650 บ า ท เป็นต้น เป็นการเริ่มต้นออมเ งิ นอ ย่ างง่ายๆ ที่ไม่ทำให้คุณต้องลำบากมากนัก
7. แบ่งเ งิ นใช้ในแต่ละวันให้พอ ดี
เช่น วันละ 200 บ า ท อ ย่ าพกเ งิ นติดตัวทีละเยอะๆ แต่ละวันหยิบเ งิ น มาใช้แค่จำนวนพอ ดี เพื่อบังคับให้ใช้เ งิ น เท่าที่จำเป็นในจำนวนเ งิ นที่มีอยู่ หล า ยคนเวลาเข้าร้านสะดวกซื้ อ เพราะตั้งใจซื้ อของแค่อ ย่ างเดียว แต่เมื่อเข้าไปในร้านก็อ ดไม่ได้ที่จะหยิบของชิ้นอื่นๆ เพิ่ม ดังนั้น หยิบเ งิ นไปแค่พอซื้ อของที่ต้องการก็พอ
8. หาร า ยได้เพิ่ม
ถ้าร า ยได้น้อย ไม่ค่อยพอ กับค่าใช้จ่าย ต้องหาร า ยได้เสริมเพื่อให้มีเ งิ น มากขึ้น โดยอาจจะเริ่มจาก งานเสริมพาร์ทไทม์ช่วงเย็นหลังเลิกงาน หรือช่วงเสาร์-อาทิตย์ หากมีความรู้พิเศษเฉพาะทาง ก็สามารถรับงานฟรีแลนซ์มาทำได้ เพื่อให้มีเ งิ นเพียงพอ กับค่าใช้จ่าย เสริมสภาพคล่องในแต่ละเดือนให้มากขึ้น
ที่มา aanplearn