5 มรดกที่ต้องเสียภาษี ยิ่งได้เยอะยิ่งเสียมาก

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้การเสียภาษีมรดกที่ได้รับมา กับบทความ 5 มรดกที่ต้องเสียภาษี ยิ่งได้เยอะยิ่งเสียมาก ไปดูกันว่ามีมรดกชนิดใดบ้างที่ต้องเสียภาษี

ต าม พระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558

ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีการรับมรดก คือ ผู้รับมรดกที่ได้มรดกสุทธิหลังหักภาระติดพันต่างๆ แล้ว เช่น ภาระจำนอง ฯลฯ จากเจ้ามรดกแต่ละรายในคราวเดียวหรือหล า ยคราว ให้เสียภาษีเฉพาะมูลค่ามรดกสุทธิส่วนที่เกิน 100 ล้านบาท ในอัตราภาษีร้อยละ 10

แต่ถ้าผู้ได้รับมรดกเป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานก็ให้เสียภาษีในอัตราภาษีร้อยละ 5 ไม่คำนึงถึงจำนวนครั้ง หรือ จำนวนหน่วยของท รั พ ย์มรดกที่ได้รับ

ท รั พ ย์มรดกที่ต้องเสียภาษีต้องเป็นสิ่งของที่มีทะเบียน ได้แก่

– อสังหาริมท รั พ ย์

– หลักท รั พ ย์

– เงินฝาก

– ย านพาหนะ

– ท รั พ ย์สินทางการเงินอื่นๆ ที่กฎหมายกำหนด

ส่วนผู้ที่มีหน้าที่ เสียภาษี การรับมรดก

– บุคคลที่มีสัญช าติไทย ( บุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล )

– บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญช าติไทย แต่มีถื่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือได้รับท รั พ ย์สินที่อยู่ในประเทศไทย

– ขณะที่ ผู้มีสิทธิได้รับ ยกเว้น ภาษีการรับมรดก

– ผู้ที่ได้รับมรดกจากเจ้ามรดกที่ต ายก่อนวันที่กฎหมายใช้บังคับ

– คู่สมรสของเจ้ามรดก

– บุคคลผู้ได้รับมรดกที่เจ้ามรดกแสดงเจตนาหรือเห็นได้ว่ามีความประสงค์ให้ใช้มรดกนั้นเพื่อประโยชน์ในกิจการศาสนา กิจการศึกษา – หรือ กิจการสาธารณประโยชน์

– หน่วยงานของรัฐและนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในกิจการศาสนา กิจการศึกษา หรือ กิจการสาธารณประโยชน์

– บุคคลหรือองค์การระหว่างประเทศต ามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การสหประช าช าติหรือต ามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือต ามสัญญาหรือต ามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อ กันกับนานาประเทศ

‘ 4 ขั้นตอนวางแผน มรดกเพื่อลูกหลาน’

1 ทำบัญชีท รั พ ย์สินอยู่เสมอ

2 ศึกษากฎหมายภาษีมรดกและภาษีจากการให้

3 วางแผนการมอบมรดก

4 เลือ กส่ งต่อมรดกเป็นท รั พ ย์สินที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี

เจ้าพนักงานประเมิน มีอำนาจประเมินภาษีและเรียกเก็บภาษีให้ครบถ้วน พร้อมเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม หากเราไม่เสียภาษีต ามกำหนด อธิบดีกรมสรรพากรก็จะมีอำนาจสั่งยึด อายัด และข า ยทอ ดตลาดท รั พ ย์มรดกโดยไม่ต้องขอศาล ดังนั้น จึงควรวางแผนภาษีมรดกอย่ างถูกต้องต ามกฎหมายและอย่ าลืมว่า ‘ หลีกเลี่ยงภาษีการรับมรดก ถือเป็นความผิดอาญา’

ที่มา painyacheewit.com