3 สิ่งที่ทำให้ข า ยดี จนเจ๊ง

วันนี้เราอยากที่จะพาเพื่อนๆ ที่กำลังอยากที่จะทำธุรกิจได้เรียนรู้ข้อคิดจากบทเรียนคนที่ข า ยดีจนเจ๊ง กับบมความ 3 สิ่งที่ทำให้ข า ยดี จนเจ๊ง ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้เราสามารถทำธระกิจของเราได้สำเร็จ

คนค้าข า ย บางคนบางเจ้า ข า ยดีจนเจ๊ง อ่ านไม่ผิดหรอ กครับหมายความอย่ างนั้นจริงๆ ข า ยดี…จนกระทั่งธุรกิจเจ๊ง แล้วต้องปิดตัวลงแบบเจ้าตัวยัง งงๆ กับชีวิตว่าเกิดอะไรขึ้นเหตุการณ์เช่นนี้ มักเกิดขึ้นกับ เจ้าของกิจการขนาดเล็กในบ้านเรา ( ร้านก๋วยเตี๋ยว ร้านอาห ารร้านจิปาถะ ) ที่เริ่มต้นเติบโตมาจากระบบเจ้าของคนเดียว มีความเชี่ยวช าญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เอาความเชี่ยวช าญนั้น มาทำธุรกิจ จนประสบความสำเร็จ เจริญก้าวหน้า มีลูกค้ามากมาย

แต่อยู่ๆ ก็เกิดอาการซวนเซ แล้วเจ๊งไปซะง่ายๆ มีเพื่อนรายหนึ่งอยู่ในอาการ ที่ว่ามานี้โชคดีที่มาถามก่อนเจ๊ง เพื่อน มาถามผมว่าเกิดอะไรขึ้น ทั้งๆ ที่ธุรกิจไปได้ดี ลูกค้ามากมาย ยอ ดข า ยแต่ละวัน…นับเงินเมื่อยมือแต่ต้องไปกู้ห นี้ยืมสิน มาใช้ในธุรกิจ เหมือนเติมไม่เต็ม ตลอ ดหล า ยปีที่ทำธุรกิจมา ผมเริ่มต้นจากคำถามง่ายๆ ว่า ‘ เป็นเจ้าของกิจการ มีเงินเดือน เดือนละเท่าไหร่…? ‘เงียบ…แทนคำตอบ ก่อนที่จะถามกลับมาว่าทำไม ต้องมีเงินเดือนในเมื่อเป็นเจ้าของอยู่แล้ว

ผมถามคำถามที่สอง ‘แล้วเจ้าของใช้เงิน เดือนละเท่าไหร่?’ ลังเลนิดหนึ่ง ก่อนจะตอบว่า ไม่รู้ว่าเดือนละเท่าไหร่ เพราะจะใช้อะไรก็หยิบไปจากลิ้นชัก ไม่ได้จดไว้ว่าเท่าไหร่อาศัยว่าถ้าเงินพอก็หยิบไปได้ ถ้าไม่พอ ก็รอให้เงินพอก่อน แล้วค่อยหยิบ ผมถามคำถามที่สาม ‘ เงินที่หยิบจากลิ้นชักไป เอาไปซื้ ออะไรบ้าง ‘คราวนี้สาธย าย ย าวเหยีย ด…ก็ซื้ อทุกอย่ าง กินข้าว ซื้ อของเข้าบ้านเลี้ยงสังสรรค์ ผ่อน รถ…ฯลฯ

ผมสรุป…’นั่นแหละสาเหตุ’

คนทำธุรกิจแบบโตมากับมือ ส่วนใหญ่เป็นแบบเพื่อน ผมนี่แหละครับ ไม่เคยตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง ไม่เคยจดว่าใช้เงินไปเท่าไหร่และใช้ไปกับเรื่องอะไร ทั้งหล า ยทั้งปวงสรุปได้ 3 สาเหตุใหญ่ คือ

1 ไม่แยกแยะเงินของธุรกิจออ กจากเงินส่วนตัว การที่ไม่ตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง เพราะคิดว่าตัวเองคือเจ้าของธุรกิจและ เป็นเจ้าของเงินทั้งหมดอยู่แล้ว จะใช้อย่ างไรก็ได้ นั่นคือแนวคิดเริ่มต้นที่ผิดเพราะต้องมองให้ธุรกิจเป็นเหมือนบุคคลอีกคนหนึ่งที่เรารับจ้างทำงานให้อยู่ เวลาเราจ้างลูกจ้าง จ่ายเงินเดือนชัดเจน ใช้เกินกว่านั้นไม่ได้ แต่ตัวเราซึ่งรับจ้างธุรกิจที่เราก่อตั้งขึ้น มากลับใช้เงินได้ไม่จำกัด ซึ่งส่ งผลทำให้เงินที่เป็นค่าใช้จ่ายด้านเงินเดือนไม่คงที่ในแต่ละเดือน ขึ้นอยู่กับเราจะ เ ม า มันหยิบมาใช้มากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ต้องตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง แล้วจ่ายเงินเดือนเมื่อสิ้นเดือนเหมือนพนักงานคนอื่นๆ แล้วต้องใช้เงินแค่นั้น ห้ามเกิน ถ้าเกิน ก็ห้ามหยิบมาจากลิ้นชักอีกต้องไปหายืมคนอื่นเอาเอง ห้ามยืมจากลิ้นชัก ถ้าจะยืมจากลิ้นชักจริงๆ ก็ต้องจด แล้วนำมาคืนอย่ างเคร่งครัด

2 ไม่ทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย เมื่อจ่ายเงินเดือนให้ตัวเองมาแล้ว ควรจะทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ให้ตัวเองด้วย คร่าวๆ ก็ได้ เอาพอรู้ว่า แต่ละวันจ่ายอะไรไปเท่าไหร่ เหลือเงินใช้ได้อีกเท่าไหร่

ไม่ใช่ใช้สนุกมือไปเรื่อย เพราะ เห็นว่าธุรกิจข า ยดีถ้าคิดว่าข า ยดี และเงินเดือนที่ตั้งให้ตัวเองไม่พอใช้ ขึ้นเงินเดือนให้ตัวเองซะ จะขึ้นเท่าไหร่ไม่มีใครว่า แต่ควรเป็นตัวเลขที่มีเหตุผลและไม่ทำให้กระทบกับรายรับของธุรกิจจะรู้ได้อย่ างไร ว่าไม่กระทบ ต้องทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของธุรกิจด้วย อันนี้ถ้าไม่ทำ…แ ย่ เลยนะ ของส่วนตัวขี้เกียจทำใช้ระบบนับเงินที่เหลือในกระเป๋ายังพอได้ แต่ของธุรกิจไม่ทำบัญชี เดี๋ยวจะร ว ยแบบไม่รู้เรื่อง และเจ๊งแบบไม่รู้เรื่องเช่นกัน

3 ใช้เงินผิดประเภท เพื่อนผมเอาเงินที่หยิบ จากลิ้นชัก ไปซื้ อข้าวกิน ไปเลี้ยงสังสรรค์ไปซื้ อของใช้เข้าบ้านไปผ่อน รถ…ฟังดูแล้ว ล้วนแต่เป็นเรื่องส่วนตัวทั้งสิ้น เรื่องส่วนตัวต้องใช้เงินส่วนตัวคือเงินเดือนของตัวเอง แต่เงินของธุรกิจควรจะจ่ายในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ

เช่น ชำระห นี้การค้า ซื้ อวัตถุดิบ จ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ฯลฯ อะไรก็ได้ ที่เกี่ยวกับธุรกิจ ตอนที่รับเงินจากลูกค้าในเงินแต่ละก้อนที่ได้รับ ประกอบด้วยต้นทุนของสินค้าต้นทุนค่าดำเนินการและกำไร อยู่ในนั้นแต่เวลาที่เราหยิบออ กมาจ่าย เรากลับมองว่าวันนี้รับมาเท่าไหร่ โดยมองว่า เป็นรายรับล้วนๆ ไม่คิดจะแยกทุน แยกกำไรกันเลย พอเอาไปใช้ผิดประเภท เท่ากับว่าได้ใช้ทั้ง กำไรและ ต้นทุนไปทั้งหมด ก็จะอยู่ในอาการ ‘ทุนหด…กำไรไม่เหลือ’

ที่มา b i t c o r e t e c h, y i n d e e y i n d e e