วันนี้เราจะพาคนที่ประกอบอาชีพอิสระต่างๆ ไปเรียนรู้กับข้อคิดเตือนใจไว้เพื่อให้กิจการของคุณนั้นได้ดำเนินต่อไปได้และไม่ขาดทุน กับบทความ 3 ข้อคิด ข า ยดีจนกิจการไปต่อไม่ได้ ไปดูกันว่าข้อคิดเหล่านี้จะนำพาชีวิตของคุณให้ดีขึ้นได้อย่ างไร
คนค้าข า ยบางคน บางเจ้าข า ยดีจนเจ๊ง อ่ านไม่ผิดหรอ กครับ หมายความอย่ างนั้นจริงๆ ข า ยดี…จนกระทั่งธุรกิจเจ๊ง แล้วต้องปิดตัวลงแบบเจ้าตัวยังงงๆ กับชีวิตว่าเกิดอะไรขึ้นเหตุการณ์เช่นนี้ มักเกิดขึ้นกับ เจ้าของกิจการขนาดเล็กในบ้านเรา ( ร้านก๋วยเตี๋ยว ร้านอ า ห า ร ร้านจิปาถะ ) ที่เริ่มต้นเติบโตมาจากระบบเจ้าของคนเดียว มีความเชี่ยวช าญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เอาความเชี่ยวช าญนั้น มาทำธุรกิจ จนประสบความสำเร็จ เจริญก้าวหน้า มีลูกค้ามากมาย
แต่อยู่ๆ ก็เกิดอาการซวนเซ แล้วเจ๊งไปซะง่ายๆ มีเพื่อนรายหนึ่งอยู่ในอาการ ที่ว่ามานี้ โชคดีที่มาถามก่อนเจ๊ง เพื่อน มาถามเราว่าเกิดอะไรขึ้น ทั้งๆ ที่ธุรกิจไปได้ดี ลูกค้ามากมายยอ ดข า ยแต่ละวัน…นับเงินเมื่อยมือ แต่ต้องไปกู้ห นี้ยืมสิน มาใช้ในธุรกิจ เหมือนเติมไม่เต็ม ตลอ ดหล า ยปีที่ทำธุรกิจมา
เราเริ่มต้นจากคำถามง่ายๆ ว่า ‘ เป็นเจ้าของกิจการ มีเงินเดือน เดือนละเท่าไหร่…? ‘เงียบ…แทนคำตอบ ก่อนที่จะถามกลับมาว่าทำไม ต้องมีเงินเดือนในเมื่อเป็นเจ้าของอยู่แล้ว เราถามคำถามที่สอง ‘แล้วเจ้าของใช้เงิน เดือนละเท่าไหร่?’ ลังเลนิดหนึ่ง ก่อนจะตอบว่า ไม่รู้ว่าเดือนละเท่าไหร่ เพราะจะใช้อะไรก็หยิบไปจากลิ้นชัก ไม่ได้จดไว้ว่าเท่าไหร่อาศัยว่าถ้าเงินพอก็หยิบไปได้ ถ้าไม่พอ ก็รอให้เงินพอก่อน แล้วค่อยหยิบ เราถามคำถามที่สาม ‘ เงินที่หยิบจากลิ้นชักไป เอาไปซื้ ออะไรบ้าง ‘คราวนี้สาธย ายย าว เ ห ยี ย ด…ก็ซื้ อทุกอย่ าง กินข้าว ซื้ อของเข้าบ้านเลี้ยงสังสรรค์ ผ่อน รถ…ฯลฯ
เราสรุป…’นั่นแหละสาเหตุ’ คนทำธุรกิจแบบโตมากับมือ ส่วนใหญ่เป็นแบบเพื่อน เรานี่แหละครับ ไม่เคยตั้งเงินเดือนให้ตัวเองไม่เคยจดว่าใช้เงินไปเท่าไหร่และ ใช้ไปกับเรื่องอะไร ทั้งหล า ยทั้งปวงสรุปได้ 3 สาเหตุใหญ่ คือ
1 ไม่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย เมื่อจ่ายเงินเดือนให้ตัวเอง มาแล้ว ควรจะทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ให้ตัวเองด้วย คร่าวๆ ก็ได้ เอาพอรู้ว่า แต่ละวันจ่ายอะไรไปเท่าไหร่ เหลือเงินใช้ได้อีกเท่าไหร่ ไม่ใช่ใช้สนุกมือไปเรื่อยเพราะเห็นว่าธุรกิจข า ยดี
ถ้าคิดว่าข า ยดี และเงินเดือนที่ตั้งให้ตัวเองไม่พอใช้ ขึ้นเงินเดือนให้ตัวเองซะ จะขึ้นเท่าไหร่ไม่มีใครว่า แต่ควรเป็นตัวเลขที่มีเหตุผล และไม่ทำให้กระทบกับรายรับของธุรกิจจะรู้ได้อย่ างไร ว่าไม่กระทบ ต้องทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของธุรกิจด้วย อันนี้ถ้าไม่ทำ…แ ย่เลยนะ ของส่วนตัวขี้เกียจทำ ใช้ระบบนับเงินที่เหลือในกระเป๋ายังพอได้ แต่ของธุรกิจ ไม่ทำบัญชี เดี๋ยวจะร ว ยแบบไม่รู้เรื่อง และเจ๊งแบบไม่รู้เรื่องเช่นกัน
2 ไม่แยกแยะเงินของธุรกิจออ กจากเงินส่วนตัว การที่ไม่ตั้งเงินเดือน ให้ตัวเอง เพราะคิดว่าตัวเองคือเจ้าของธุรกิจ และเป็นเจ้าของเงินทั้งหมดอยู่แล้ว จะใช้อย่ างไรก็ได้ นั่นคือแนวคิดเริ่มต้นที่ผิดเพราะต้องมองให้ธุรกิจเป็นเหมือนบุคคลอีกคนหนึ่ง ที่เรารับจ้างทำงานให้อยู่ เวลาเราจ้างลูกจ้าง จ่ายเงินเดือนชัดเจน ใช้เกินกว่านั้นไม่ได้ แต่ตัวเราซึ่งรับจ้างธุรกิจที่เราก่อตั้งขึ้น มา กลับใช้เงินได้ไม่จำกัด ซึ่งส่ งผลทำให้เงินที่เป็นค่าใช้จ่ายด้านเงินเดือนไม่คงที่ในแต่ละเดือน ขึ้นอยู่กับเราจะ เ ม า มันหยิบมาใช้มากน้อยแค่ไหน
ดังนั้น ต้องตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง แล้วจ่ายเงินเดือนเมื่อสิ้นเดือน เหมือนพนักงานคนอื่นๆ แล้วต้องใช้เงินแค่นั้น ห้ามเกิน ถ้าเกิน ก็ห้ามหยิบมาจากลิ้นชักอีกต้องไปห า ยืมคนอื่นเอาเอง ห้ามยืมจากลิ้นชัก ถ้าจะยืมจากลิ้นชักจริงๆ ก็ต้องจด แล้วนำมาคืนอย่ างเคร่งครัด
3 ใช้เงินผิดประเภท เพื่อนเราเอาเงินที่หยิบ จากลิ้นชักไปซื้ อข้าวกิน ไปเลี้ยงสังสรรค์ ไปซื้ อของใช้เข้าบ้าน ไปผ่ อ น รถ…ฟังดูแล้ว ล้วนแต่เป็นเรื่องส่วนตัวทั้งสิ้น เรื่องส่วนตัวต้องใช้เงินส่วนตัวคือเงินเดือนของตัวเอง แต่เงินของธุรกิจ ควรจะจ่ายในสิ่งที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจ เช่น ชำระห นี้การค้า ซื้ อวัตถุดิบ จ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ฯลฯ อะไรก็ได้ ที่เกี่ยวกับธุรกิจ ตอนที่รับเงินจากลูกค้าในเงินแต่ละก้อน ที่ได้รับ ประกอบด้วยต้นทุนของสินค้า ต้นทุนค่าดำเนินการ และกำไร อยู่ในนั้น
แต่เวลาที่เราหยิบออ กมาจ่าย เรากลับมองว่าวันนี้รับมาเท่าไหร่ โดยมองว่าเป็นรายรับล้วนๆ ไม่คิดจะแยกทุน แยกกำไรกันเลย พอเอาไปใช้ผิดประเภท เท่ากับว่าได้ใช้ทั้งกำไรและ ต้นทุนไปทั้งหมด ก็จะอยู่ในอาการ ‘ทุนหด…กำไรไม่เหลือ’
ที่มา b i t c o r e t e c h, s a b a i l e y