วันนี้เราจะพาคุณไปเรียนรู้เกี่ยวกับการแคะหู ที่หล า ยๆคนนั้นชอบมองข้ามไป กับบทความ คนชอบแคะหูควรรู้ไว้ ก้านสำลีแคะหู ปั่นหู ไปดูกันว่าการใช้ก้านสำลีแคะหู ปั่นหู นั้นส่ งผลอย่ างไรต่อตัวคุณบ้าง
หล า ยคนคงต้องเคยใช้ ก้านสำลีปั่นหู กัน มาแล้วใช่ไหมคะ ซึ่งยังมีคนเข้าใจผิดอยู่ว่าสำลีปั่นหูนี้ถูกผลิตเพื่อใช้สำหรับแคะหู แต่จริงๆ
แล้วมีวัถุประสงค์เพื่อใช้เช็ดทำความสะอาดสิ่งเล็กๆ และ ใช้ในงานฝีมือ การนำก้านสำลีมาแคะหู อาจจะส่ งผลเสี ย และ อั น ต ร า ย ได้มากกว่าที่คุณคิด
ข้อมูลจากผู้เชี่ยวช าญทั้ง 2 ท่าน ถึงเรื่องการห้ามใช้ก้านสำลีปั่นหู ว่าทำไมถึงไม่ควรใช้
โดย อาจารย์ แพทย์หญิง กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์ อาจารย์ภาควิช าโสต นาสิก ลงริงซ์วิทย า โรงพย าบาลศิริราช ได้ให้ข้อมูลว่า ‘ เราไม่ควรใช้ก้านสำลีปั่นหู หรือ แคะ หูออ กมา เพราะโดยปกติแล้วช่องหูของคนเรา สามารถขับออ กมาได้เอง
การที่ใช้ก้านสำลีไปปั่นหูจะยิ่งเป็นการดันให้ขี้หูเข้าไปข้างใน ลึกยิ่งกว่าเดิม นอ กจากนี้จะทำให้เกิดแผ ลภายในช่องหูชั้นนอ ก และลามไปสู่การ อั ก เ ส บ ติ ด เ ชื้ อ ได้ ‘
ผศ. นายแพทย์ ศุภชัย ปิติกุลตัง อาจารย์ภาควิช าอนามัยครอบครัว คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทย าลัยมหิดล ก็ได้ย้ำว่า ‘ ขี้หูนั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นต ามธรรมช าติของกลไกในร่างกายมนุษย์
และยังสามารถขับออ กเองได้ ไม่จำเป็นที่จะต้องหาอะไรมาแคะเพื่อเอาออ ก แถมยังมีประโยชน์ในการช่วยป้องกัน แ ม ล ง และสิ่งสกปรกต่างๆไม่ให้เข้าไปในหูได้อีกด้วย ‘
ทางผู้เชี่ยวช าญได้ทำการทดลองเพื่อใหเห็นภาพชัดเจนขมากยิ่งขึ้น จากการทำแบบจำลอง การใช้ก้านสำลีปั่นหู เพื่อจะนำขี้หูออ ก จะทำให้โดนดันเข้าไปลึกเรื่อยๆจนถึงชั้นเยื่อแก้วหู และ ถ้าโดนดันเข้าไปสะสมมากๆก็จะไปขัดขวางการได้ยิน และหากปั่นเข้าไปลึกจนเกินไปก็จะทำให้ก้านสำลีไปกระแทกกับเยื่ อแก้วหู
จนทำให้เกิดอาการ บ า ดเ จ็ บ หรือเยื่ อแก้วหู ฉี ก ข า ด ได้ ไม่เพียงแค่ก้านสำลี แต่รวมถึงไม้แคะหู ไม้ปั่นหู หรือแม้แต่เล็บของตัวเอง ก็ไม่ควรจะนำไปแคะทั้งสิ้ น เพราะจะทำให้เกิดการ บ า ด เ จ็ บ ในช่องหูได้ และยังทำให้ประสิทธิภาพในการได้ยินลดลงอีกด้วย หากใครที่รู้สึกว่าคัน มาก แค่ทำการกดบริเวณข้างนอ กใบหู อาการคัน
หรือหูอื้อก็จะดีขึ้น แต่ถ้าอย ากจะเอาออ ก แพทย์แนะนำให้ไปพบแพทย์ เพื่อให้เอาออ กให้จะดีที่สุด การที่ไปให้ร้านตัดผมทำให้ หรือให้คนอื่นทำให้ ก็ไม่ได้ดีไปกว่ากัน เพราะเขาก็จะมองเห็นได้แค่หูชั้นนอ กเหมือนกัน แพทย์จะมีเครื่องมือที่ทำให้มองเห็นข้างในได้ดีกว่า และปลอ ดภั ยกว่า
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : อาจารย์ แพทย์หญิง กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์, ผศ. นายแพทย์ ศุภชัย ปิติกุลตัง และ รายการชัวร์ก่อนแชร์
ที่มา bitcoretech