เมื่อทุกวันนี้คนเราหาเงินได้มากขึ้น แต่ก็ยังไม่พอกับค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน เป็นเพราะอะไรนั้นวันนี้เราจะพาคุณไปดูเหตุผลว่าทำไมมีเงิน มากแ่ทำไมถึงไม่พอใช้ กับบทความ เงินเดือนเยอะ แต่ทำไมถึงไม่พอใช้จ่าย
พูดกันติดปากตั้งแต่วัยทำงานจนถึงวัยเกษียณว่า หาเงิน มาจ่ายออกหมด หาเงินได้เท่าไหร่ก็ไม่พอจ่าย หาเงิน มาไม่ทันได้ใช้ หาเงิน มาได้ก็ไม่เคยมีเงินเก็บ
คนทำงานทุกคนต่างต้องการเงินเดือนสูงๆ รายได้เยอะๆ กันทั้งนั้น อย่ างน้อยที่สุดก็ขอให้ได้เงินเดือนที่พอใช้จ่ายตลอ ดเดือน เหลือเก็บบ้างเล็กน้อยก็ยังดี
แต่สภาพสังคมปัจจุบัน ชีวิตของคนทำงานมีสิ่งที่ทำให้ต้องเสียเงิน เสียค่าใช้จ่ายค่ามากขึ้น ซึ่งแม้จะเป็นรายจ่ายที่สำคัญ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเปลี่ยนแปลง หรือลดรายจ่ายไม่ได้
เช่น ค่าผ่อนชำระบัตรเครดิตขั้นต่ำในแต่ละเดือน ค่าผ่อนสินค้า ค่าบริการโทรศัพท์มือถือ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าเสริมสวย-ซื้ อเครื่องสำอาง ค่าใช้บริการฟิตเนส ค่าน้ำมันรถ
รายจ่ายเหล่านี้ เป็นการจ่ายเพื่อสิ่งที่ ‘อาจไม่จำเป็นต้องมี ต้องทำ หรือต้องเป็น’ แต่ก็ยังดีกว่ารายจ่ายในสิ่งที่ไร้ประโยชน์ เช่น ค่า เ ห ล้ า ค่าบุห รี่ ค่าห ว ย หรือค่าใช้จ่ายสำหรับ อ บ า ย มุ ข ต่างๆ
เงินเดือนเท่าไหร่จึงจะพอกับความต้องการจึงเป็นปัญหา โ ล ก แ ต ก สำหรับคนทำงาน หล า ยคนมีรายได้มากกว่าตอนเริ่มต้นทำงาน แต่ก็ยังไม่พอใช้จ่าย ไม่พอใช้ห นี้ ลองมองย้อนกลับไปในอดีต หากเราไม่ก่อห นี้ โดยเฉพาะห นี้บัตรเครดิต เพื่อซื้ อสิ่งที่ต้องการอย่ างง่ายๆ
ป่านนี้คงมีเงินเก็บมากมาย หากคนทำงานอย่ างคุณ จ่ายค่า เ ห ล้ า ค่าบุ หรี่ในแต่ละวัน เท่าค่าใช้จ่ายประจำวันโดยเฉพาะค่าข้าว ถ้างด เ ห ล้ า งดบุ หรี่ในแต่ละเดือน จะเหลือเงินค่าข้าวเป็นสองเท่าเลยทีเดียว!
หากคุณมีรายได้หลักพัน หรือหลักหมื่นต้นๆ แต่ซื้ อเสื้อผ้า เครื่องประดับร า ค าแพงใส่ไปทำงาน ใช้โทรศัพท์มือถือเครื่องละหล า ยหมื่นที่ยังต้องผ่อน ดื่มกาแฟแก้วละเกือบร้อย แม้จะเป็นความสุขของคนทำงานที่ถือเป็นการให้รางวัลตัวเองจากการทำงานที่เหน็ดเหนื่อย
แต่ความทุ ก ข์ที่ต้องจ่ายหรือเป็นห นี้จะต ามมาในภายหลัง พฤติก ร ร มและการใช้ชีวิตเช่นนี้ ส่ งผลให้คนทำงานส่วนใหญ่มีห นี้สิน แม้แต่คนที่ทำงานได้เงินเดือนสูงแต่บริหารรายได้ของตนเองไม่ดี ก็ไม่เหลือเงินเก็บเพราะส่วน มากได้เงินเยอะก็ใช้เยอะต ามไปด้วย
นี่เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับความอย ากได้อย ากมีของคน ยกตัวอย่ างง่ายๆ ตอนเป็นเด็กคุณอาจจะคิดว่า มีเงินแค่ 1 ล้านบาท ก็ถือว่าร ว ยแล้ว แต่เมื่อโตขึ้น มาเงิน 1 ล้านบาทอาจจะเป็นเงินจำนวนที่น้อยมากในสายต าคุณ
นั่นก็เพราะกิเลสไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งคนเติบโตมากขึ้นเท่าไหร่ กิเลสก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นต าม ‘สภาพและฐานะนุรูปที่คุณต้องสร้างภาพให้ปรากฏแก่สังคม’ ดังนั้นถึงจะมีเท่าไรก็ไม่พอใช้ เพราะความต้องการที่เพิ่มขึ้น ลองพิจารณาดูว่าในช่วงเริ่มต้นชีวิตการทำงาน คุณอาจมีรายได้แค่หลักพัน หรือหลักหมื่นต้นๆ
จากรายได้ที่เพียงพอต่อการใช้ชีวิตในหนึ่งหนึ่งเดือน เมื่อคุณมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ รายได้ก็เกิดการไม่พอใช้ ต้องหมุนเงินเดือนชนเดือน หลังจากนั้น คุณก็จะเริ่มคิดว่าถ้ามีเงินเดือนสามหมื่นบาทก็คงพอค่าใช้จ่าย อยู่ได้สบายๆ
แต่เมื่อเงินเดือนคุณถึงสามหมื่นเมื่อไหร่ก็กลับเข้าสู่พฤติก ร ร มเดิม เงินสามหมื่นที่คิดว่าพอ สุดท้ายก็ไม่พออยู่ดี จากที่เคยคิดว่า ‘ใช้เท่าไหร่ก็ยังไม่พอ’ พย าย ามเปลี่ยน มาเป็น ‘อย ากเก็บออมให้ได้เยอะที่สุด จนรู้สึกว่าออมเท่าไหร่ก็ยังออมไม่พอ’
หรือ สร้างห นี้ได้ แต่ต้องเป็น ‘ห นี้เพื่ออนาคต’ ออมเงินกับประกันชีวิต และฝากเงินกับธนาคาร จะได้สบายตอนแก่ หรือมีเงินเก็บไว้ใช้หากเกิดเหตุการณ์ ฉุ ก เ ฉิ น หรือเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดขึ้น ประเมินรายจ่ายจากเงินเดือนหรือรายรับอื่นๆ ก่อนเสมอ
เพื่อจัดสรรเงินเดือนเป็นส่วนๆ คิดว่าควรจ่ายอะไรเท่าไหร่บ้าง จะได้รู้ว่าที่จ่ายไปแต่ละเดือนจนไม่เหลือกินเหลือเก็บนั้น รายจ่ายส่วนใดที่ไม่มีความจำเป็น
ก็ค่อยๆ ตัดออกไป เรียกง่ายๆว่า ใช้จ่ายอย่ างประหยัด หากเก็บออม 1 ปี ได้ สัก 8 หมื่น เก็บออมได้ 3 ปี เป็น 2 แสน 4 หมื่น ระหว่างนั่นอาจจะไปฝากธนาคาร ลงทุน ก็จะมีเงินเก็บเพิ่มได้
แม้ในอนาคตข้าวของเครื่องใช้จะขึ้นร า ค า คุณก็ไม่เดือ ดร้อนอะไร ถ้าเทียบกับคนที่ทำงาน มา 3 ปีเท่ากัน แต่ไม่มีเงินเก็บแม้แต่บาทเดียว ที่สำคัญคุณจะมีเงินสำรองนอนนิ่งๆ ไว้ใช้ได้ย ามฉุกเฉิน เช่น ย าม เ จ็ บ ป่ ว ย หรือเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ ที่ทำให้คุณไม่สามารถทำงานได้อีกต่อไป
ขอขอบคุณ moneyhub