วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการเลี้ยงลูก กับบทความ เงินซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ไม่สามารถซื้ อความฉลาดให้ลูกได้ ไปดูกันว่าทำไมมีเงิน มากแต่ไม่อาจซื้ อส ม อ งที่ดีให้กับลูกได้
เข้าใจว่าทุกวันนี้ การศึกษาคืออนาคต ความหวังที่จะช่วยพลิกโอกาส ให้ลูกคุณมีอนาคตที่ดี หล า ยๆ ครอบครัวจึงทุ่มเททุกสิ่งที่มี ทั้งเงินและเวลา แลกกับการให้ลูกได้เรียนโรงเรียนดีๆ มีร า ค าสูง คอร์สติวสอนพิเศษต่างๆ มากมาย จนลืมไปว่า ควรพัฒนาทักษะด้านอื่น ควบคู่กันไปด้วย
ตอนที่ลูกอายุได้ 2 ขวบ
เราส่ งลูกเข้า ‘เนอสเซอรี่’ หมดค่าใช้จ่ายไปปีละ 8 หมื่น เพียงแค่คิดว่ากลัวจะพัฒนาไม่ทันเพื่อน เรียนไม่ทันเพื่อน กล า ยเป็นส่ งลูกไปติดหวัดที่โรงเรียน เพราะวัยนี้ภูมิต้านทานยังไม่แข็งแรงพอ ไหนจะเสี่ยงที่จะต้องเจอ กับ พี่เลี้ยงที่ไม่ดี สอนแบบผิดๆ อีก กล า ยเป็นพฤติก ร ร มตัวอย่ าง ที่ซึมซับมาโดยไม่รู้ตัว
เมื่อ อนุบาล ยันประถม
เราจัดเต็ม ทั้งในและนอ กหลักสูตร ต้องกวดวิช าเพื่อเตรียมสอบเข้า ป 1 และเสริมด้วยคณิตศาสตร์ ว่ายน้ำ ไวโอลิน อังกฤษ จีน ฯลฯ กลัวลูกจะไม่เก่ง กลัวจะน้อยหน้าข้างบ้าน หารู้ไม่ว่า ‘จินตนาการ’ ต่างหาก คือสิ่งที่สำคัญที่สุด ที่จะนำพาให้ลูกคุณเติบโตขึ้น เป็นผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จได้ในอนาคต แต่คุณกำลังบังคับให้เรียนนั่นเรียนนี่ เป็นการปิดกั้นพัฒนาการในด้าน ‘จินตนาการ’ และการฝึกคิดไปโดยอัตโนมัติ เรากลัวว่าลูกจะไม่เก่ง แต่ไม่เคยถามความรู้สึกของลูกจริงๆ ว่าเขาฝันอย ากเป็นอะไร หรือเพียงเพราะเราแค่ยัดเยียดความฝันที่เราทำไม่สำเร็จ ความล้มเหลวที่เราทำให้พ่อแม่ผิดหวังไปไว้ที่ลูก ให้เป็นคนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อมาชดเชย ‘ปม’ ความล้มเหลวในอ ดีตของเรา
พอถึง มัธยมอมเปรี้ยว
คราวนี้หนักเลย เพื่อที่จะสอบได้คะแนนดีๆ เพื่อเข้ามหาลัยดีๆ ได้เรียนพิเศษทุกเย็นหลังเลิกเรียน เสาร์อาทิตย์จัดเต็ม วันปิดเทอมไม่มีพัก ส่ งลูกเรียนซัมเมอร์ยุโรป ออสเตรเลีย บางทีลูกไม่อย ากไป แต่พ่อแม่นี่แหละอย ากให้ไป บางบ้านหมดเงินปีละ 6 – 7 แสน เพียงเพื่อให้ลูกได้เรียนในสิ่งที่คิดว่าดี ( แต่ไม่รู้ดีจริงไหม ) ยังไม่ทันเข้ามหาลัยกดไปเป็นสิบล้าน! ถึงวัยทำงานคือ ‘โลกแห่งความเป็นจริง’ พอลูกเรียนจบก็คาดหวังว่า ลูกฉันเลี้ยงมาอย่ างพิเศษใส่ไข่
ดังนั้น จะจ้างลูกฉัน มันต้องแพงกว่าสิ นี่ส่ งเรียนไปสิบกว่าล้านเลยนะ ‘ปัญหาคือ คุณค่าของใบปริญญา พ่อแม่กับนายจ้าง มองไม่เท่ากัน’ พ่อแม่ช าวไทย ให้ร า ค าค่าใบปริญญาลูกรักสูงมาก เพราะเราอยู่ในกระบวนการจ่ายเงินจริง ด้วยร า ค าสูง อย่ างย ากลำบาก ย าวนาน 20 ปี นายจ้างกลับให้ร า ค าไม่สูงเท่าพ่อแม่ แต่มีคำถามใหญ่ๆ 3 คำถาม คือ
1 ลูกคุณทำอะไรเป็นบ้าง
2 ลูกคุณเคยทำอะไรสำเร็จมาบ้าง
3 ลูกคุณจะมาสร้างความสำเร็จอะไรให้ที่นี่
อย่ าลืมว่ายุคนี้ คือยุคที่เปิดกว้าง
‘คนอินเดีย’ พร้อมบิน มาทำงานที่ กทม เขียนโปรแกรมเก่ง ยังกับคลอ ดออ กมาจากคอมพิวเตอร์ แถมขยันขันแข็ง ยังกับหุ่นยนต์
‘คนฟิลิปปินส์ อินโด มาเลย์’ พร้อมจะบิน มาทำงานที่กรุงเทพ พวกเขาเก่งภาษาอังกฤษ ลอจิกดี คุมงานเป็น เจ้าโปรเจคต์ พรีเซนต์ดี ไม่แพ้ฝรั่ง
‘คนจีน’ ไม่ต้องพูดถึงความขยันอ่าน ขยันข า ยของ ขยันพบลูกค้า ใจสู้มาก ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ โดนด่าไม่ยุบ พวกนี้คือยอ ดเซลล์แมน
แต่กับคนไทย ปริญญามหาลัยมันเริ่มจะเบลอๆ ไม่ศักดิ์สิทธิ์เหมือนรุ่นพ่อแม่ แน่นอนว่าย่อมมีบางคนได้ไปต่อ เจริญรุ่งเรือง โกอินเตอร์ แต่ก็มีจำนวน มากที่แป้กตั้งแต่อายุยังน้อย การศึกษานั้นเป็นสิ่งที่สำคัญ แต่หล า ยๆ คนยังจำกัดคำว่า ‘การศึกษา’ ไว้ในแค่ห้องเรียน
ตัดสินว่าคนนั้น มีการศึกษา หรือไม่มีความรู้ จากวุฒิที่เรียนจบออ กมา และหล า ยคนก็เชื่อว่าการได้เรียนจบสูงๆ จะทำให้มีหน้าที่การงานดี อนาคตไกล แต่ในโลกความเป็นจริงแล้ว การที่เราเรียนจบสูงๆ ก็ไม่ได้หมายความว่า จะประสบความสำเร็จเสมอไป
ที่มา F u n d a m e n t a l, 1 0 8 r e s o u r c e s