วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการจัดการเงินเดือนให้สามารถใช้ลงตัวในทุกเรื่องโดยที่เราไม่ก่อห นี้สินเพิ่มอีก กับบทความ วิ ธีจัดการเงินเดือนให้พอ กิน พอใช้ พอเก็บ พอใช้ห นี้สิน ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง
หล า ยๆคนต้องพบกับปัญหาที่ว่า ทำงานได้เ งิน มาเท่าไหร่ ก็ต้องนำไปชำระห นี้สินจนหมด ทำให้ไม่สามารถออมเงิ นได้ แต่จะมีกี่คนที่รู้ว่าถึงเรามีห นี้ เราก็ควรต้องแบ่งเ งินเก็บไว้ด้วย เพราะผมพบตัวอย่ างคนใกล้ตัวที่มีห นี้ แต่ไม่วางแผนออมเ งินไว้ เลยลองอ่า นดูนะครับ… วันหนึ่งลูกช ายเพื่อนผมดันขี่มอเตอร์ไซค์ไปชนท้าย รถร า ค า แพงคันนึงโชคดี ที่เจ้าของรถยนต์เขาเห็นบา ดเ จ็ บหนัก ก็เลยไม่คิดจะเอาเรื่อง แต่ก็ต้องเสียค่ารั ก ษ าพย าบาล กับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซค์ หมดเป็นหมื่น เพื่อนผมเล่าไปก็ร้องไห้ไป เพราะมันทุ ก ข์ใจว่าห นี้เก่ายังชำระไม่หมด ยังต้องกู้เงิ นเพิ่มมารั ก ษ าลูกอีก
ทุกวันนี้อย่ าได้คิดถึงการออมเงิ นเลย เพราะไม่ว่าจะหาเงิ น มาได้เท่าไหร่ ก็ต้องนำไปชำระห นี้หมด ชีวิตนี้เป็นห นี้ไม่จบไม่สิ้นสักที และนั่นเป็นจุดเริ่มต้น ทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่!! ผมเริ่มคิดว่าตัวเอง มองอะไรพลาดไป หรือเปล่า นอ กจากความรับผิดชอบในการใช้ห นี้และสิ่งที่ผมพลาด คือลืมคิดถึงแผนสำรอง เผื่อช่วงที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น การเกิดอุบัติเหตุ มันทำให้ผมรู้ว่าคนที่มีห นี้ อย่ างน้อยก็ต้องมีเงิ นออม ที่เรียกว่า ‘ เงิ นฉุกเฉิน’ เก็บไว้ด้วยเพราะเงิ นก้อนนี้ นั้นสำคัญกับชีวิตมากจริงๆ มาถึงตรงนี้หล า ยคนคงคิดว่า ‘ คงเป็นไปไม่ได้หรอ ก ที่จะสามารถมีเงิ นออมได้
ถ้าหากยังมีห นี้สินอยู่’ งั้นเรามาดูวิธีแบ่งเ งินใช้ห นี้ และมีเงิ นเก็บแบบง่ายๆกันดีกว่า ซึ่งขั้นตอนแรกนั้น สามารถทำได้ง่ายๆ เริ่มจากการเขียนบัญชีร ายรับรายจ่ายเลยครับ! เพราะสามารถทำให้ทุกคน สามารถรู้ได้อย่ างแน่นอน ว่าเงิ นที่ได้มานั้นใช้จ่ายไปในเรื่องใดบ้าง เมื่อถึงวันที่เงิ นเดือนเข้าบัญชี หรือขา ยของมีรายได้เข้ามา ก็แบ่งเ งินเป็น 2 กองคือ กองที่เก็บและกองที่ใช้ กองที่เก็บคือเ งินสดสำรองฉุกเฉิน ( จำนวนรายจ่ายให้อยู่ได้อย่ างน้อย 1-3 เดือน ) กองที่ใช้คือใช้จ่ายห นี้สิน และใช้จ่ายส่วนตัว เทคนิคของผมง่ายนิดเดียว
ครับแค่แบ่งเงิ นเก็บไว้ก่อนใช้เสมอ ค่อยๆออมเงิ น จนกระทั่งครบต ามจำนวนที่ตั้งไว้ เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท ดังนั้นเงิ นฉุกเฉินต้องเตรียมไว้คืออย่ างน้อย 10,000-30,000 บาท โดยเริ่มต้นแบ่งเงิ นรายได้ มาเก็บทุกเดือนอาจจะเดือนละ 500–1,000 บาท จำนวนที่เก็บขึ้น อยู่กับความสามารถของแต่ละคน แต่ผมอย ากบอ กว่า จำนวนเงิ นที่เก็บ ยังไม่สำคัญเท่าวินัย ที่จะเก็บให้ได้ทุกเดือน
เพราะหากมีวินัย เงิ นเก็บก็จะค่อยๆเพิ่มขึ้น จนครบในที่สุดครับ หลังจากแบ่งเงิ นเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงิ นอีกส่วน มาชำระห นี้ ที่มีอย่ างสม่ำเสมอ ทุกงวดจะได้มีประวัติเป็นลูกห นี้ที่ดี สุดท้ายเหลือเงิ นเท่าไหร่ ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ ผมเสริมเทคนิคอีกนิดครับ ผมลองเอาเงิ นส่วนที่เหลือนี้ มาหารจำนวนวันที่เหลือ ก่อนที่เ งินของเดือนใหม่ จะเข้าบัญชี ผมลองตั้งวงเงิ นใช้จ่ายทั่วไป ให้ตัวเอง 200 บาทต่อวันเท่านั้น แต่ผมยังมีเงิ นเหลือรายวันอีก ถึงแม้จะเหลือไม่เยอะ แต่ผมก็ได้ฝึกวินัย และสามารถลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยได้อย่ างมีสติครับ เหตุผลที่เราควรมีเงิ นสำรองฉุกเฉิน
ทำไมทุกคนควรมีเงิ นออม หรือที่ผมเรียกว่าเ งินสำรองฉุกเฉิน? เพราะหากวันใดวันหนึ่ง เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น อาจจะบ าดเ จ็ บจนไม่สามารถหารายได้ในแต่ละวันได้ เราก็ยังมีเงิ น มาพอใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และเ งินออมนั้น ยิ่งมีมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสามารถทำให้เราสบายใจได้มากขึ้น เรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเงิ นฉุกเฉินก้อนนี้ จะทำให้เรารอ ดพ้นวิกฤตของชีวิต และทำให้เรา ไม่เป็นห นี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ
ที่มา tidlor, stand-smiling