เพื่อนๆคนไหนตอนนี้อายุเข้าเลขสามแล้วแต่ยังไม่มีเ งิ นเก็บบ้าง หล า ยคนก็อาจจะพอมีบ้างและหล า ยคนก็ไม่มีเลย วันนี้เราเลยมีข้ อคิดดีๆมาฝากถึงคนที่ยังไม่มีเ งิ นเก็บกับเขาเลยมาฝากกัน เผื่อนำไปปรับใช้ทำให้มีเ งิ นเก็บขึ้น มาบ้าง
อายุ 30 แล้ว ไม่มีเ งิ นเก็บเลย ควรมีเ งิ นเก็บเท่าไร คำถามที่มักจะพบเจอได้บ่อย ๆ ที่คาดหวังว่าเมื่ออายุเท่านี้ ควรมีเ งิ นเก็บจำนวนเท่านี้ และควรมีท รั พ ย์สินอะไรบ้าง แต่ในความเป็นจริง นักบริหารการเ งิ นต่างพูดเป็นเ สี ยงเดียวกันว่าไม่มีอะไรที่สามารถกำหนดได้ว่าอายุเท่านี้ ควรมีเ งิ นเก็บเท่าไหร่ เพราะมีหลากหล า ยปัจจัยที่ประกอบกัน แต่สิ่งสำคัญคือควรวางแผนด้าน
การเ งิ นอ ย่ างไรให้เหมาะสมกับอายุ ร า ยได้ และแผนหลังเกษียณที่ต้องการต่างหาก หากคุณเป็นหนึ่งที่ยังไม่มีเ งิ นเก็บ และอายุกำลังจะ 30 แล้ว บอ กเลยว่าการเริ่มต้นวางแผนการเ งิ น และเก็บเ งิ นนั้นไม่ย ากอ ย่ างที่คิด แต่ควรเริ่มจากอะไรบ้างต้องไปศึกษาพร้อม ๆ กัน
1. เปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับเ งิ นใหม่
หนึ่งในสาเหตุไม่มีเ งิ นเก็บของคนอายุ 30 ปีนั้นก็คือมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเ งิ นแบบผิ ด ๆ มาตั้งแต่แรก รวมถึงความเข้าใจเกี่ยวกับการออมเ งิ นที่ผิ ดด้วย เพราะ เ งิ นเก็บ นั้น คือเ งิ นที่เหลือจากการใช้จ่ายในแต่ละเดือน แต่ในความเป็นจริงแล้วการนำร า ยได้มาหักเ งิ นออมออ กแล้วเหลือเ งิ นอีกจำนวนหนึ่งต่างหาก ที่คุณสามารถนำมาใช้จ่ายในแต่ละเดือนได้
เช่น ปกติแล้วคุณคิดว่า เ งิ นเดือน-ค่าใช้จ่าย = เ งิ นออม แต่สิ่งที่ควรจะเป็นคือ เ งิ นเดือน-เ งิ นออม = ค่าใช้จ่าย ต่างหาก อีกทั้งเรื่องของการออมเ งิ นที่หล า ย ๆ คน มีแนวคิดว่าเป็นเรื่องที่ ไม่จำเป็นหากอายุยังน้อยหรือยังไม่อายุ 30 ซึ่งจริง ๆ แล้วนั้นการออมเ งิ นนี่แหละคือสิ่งสำคัญสุด ๆ หากคุณเริ่มออมเ งิ นและวางแผนการเ งิ นได้ตั้งแต่อายุยังน้อย ก็จะช่วยเพิ่มความมั่นคง
และช่วยทำให้คุณมองเห็นเป้าห ม า ยทางด้านการเ งิ นได้เป็นอ ย่ างดีมากยิ่งขึ้น ดังนั้นก่อนจะเริ่มเก็บเ งิ น ต้องหาสาเหตุไม่มีเ งิ นเก็บให้ได้ก่อน แล้วปรับแนวคิดเกี่ยวกับเ งิ นและการเ งิ นใหม่ รับรองว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นการออมเ งิ นที่ดีอ ย่ างแน่นอน
2. คำนวณและตั้งเป้าห ม า ยเกี่ยวกับเ งิ นเกษียณ
แน่นอนว่าการเริ่มต้นเก็บเ งิ นสำหรับผู้ที่ไม่มีเ งิ นเก็บเลยก็คือ การคำนวณเ งิ นที่จำเป็นต้องใช้ หรือเ งิ นที่ต้องการจะใช้ในช่วงเกษียณอายุนั่นเอง ซึ่งการคำนวณนี้จะต้องคิดถึงทุก ๆ ด้านของ การใช้ชีวิต ไม่ว่าจะเป็นค่ารั กษ าพย าบ า ล ค่าที่อยู่อาศัย ค่ากินอยู่ รวมไปถึงค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จากนั้นนำยอ ดเ งิ นที่เราต้องการเอาไว้ใช้ในย ามเกษียณแต่ละเดือน มาคำนวณอีกครั้งว่าจะต้องออมเ งิ น
ในปัจจุบันเป็นจำนวนกี่บาทต่อเดือน จึงจะสามารถเก็บเ งิ นได้ต ามที่ตั้งเป้าห ม า ยเอาไว้ หนึ่งในสิ่งที่ห้ามลืมสำหรับการคำนวณจำนวนเ งิ นที่ต้องเก็บสะสมนั้นก็คือ อัตราเ งิ นเฟ้อ เพราะแน่นอนว่า ทุก ๆ ปีนั้นอัตราเ งิ น มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
3. เริ่มศึกษาการล งทุ นเพื่อให้เ งิ นทำงาน
สำหรับหล า ย ๆ คน เรื่องของการล งทุ นดูจะเป็นเรื่องที่ไม่คุ้นเคย ดูยุ่งย ากและมีความเสี่ ยงสูง แต่ในความเป็นจริงแล้วการล งทุ น มีอยู่หลากหล า ยรูปแบบเพื่อให้คุณได้เลือ กล งทุ น จากคนที่ ทำงาน มานานและไม่มีเ งิ นเก็บนั้น หากเริ่มเก็บเ งิ นได้แล้ว ก็ควรมองหาการล งทุ นเอาไว้เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่าของเ งิ นที่มีอยู่ให้มากขึ้นก็จะเป็นการช่วยให้เก็บเ งิ นได้อีกวิ ธีหนึ่ง ซึ่งแน่นอนว่า
การล งทุ นนั้น มีโอกาสได้ผลตอบแทน มากกว่าการฝากประจำหรือ การเก็บเ งิ นไว้เฉยๆ การล งทุ นสำหรับมือใหม่นั้นก็ไม่ได้ยุ่งย ากอ ย่ างที่คิด คุณอาจจะเริ่มจากการล งทุ นในกองทุนรวมต่าง ๆ ก่อนได้ โดยทำการเปิดบัญชีกับธนาคารได้ทันที ซึ่งข้ อ ดีของการนำเ งิ นไปล งทุ นกับเหล่ากองทุนรวมนั้นก็คือ มีผู้ดูแลเ งิ นล งทุ นให้ตลอ ดเวลา และเป็นผู้ที่มีความเป็น มืออาชีพเ สี ยด้วย อีกทั้ง
ยังทำให้คุณสามารถเข้าถึงการล งทุ นในสินท รั พ ย์ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น และสุดท้ายคือผลประโยชน์ด้านการลดหย่อนภาษีด้วยนั่นเอง ดังนั้นการเริ่มเก็บเ งิ นตั้งแต่วันนี้และเร่งเ งิ นโตด้วยการล งทุ นกับกองทุนรวม ก็ถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางการเก็บเ งิ นที่ทำให้ได้ผลประโยชน์หลากหล า ยทางเลยทีเดียว ยิ่งถ้าคุณเป็น มนุษย์เ งิ นเดือน
ที่ไม่มีเ งิ นเก็บแล้วล่ะก็ บอ กเลยว่าไม่มีอะไรเหมาะไปกว่าการล งทุ นในกองทุนรวมอีกแล้ว หากไม่มั่นใจและไม่อย ากเสี่ ยงมาก ก็ให้เลือ กล งทุ นกับกองที่มีความเสี่ ยงต่ำเพื่อเรียนรู้ก่อนก็ได้ ซึ่งปัจจุบันสามารถล งทุ นต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือนได้ ที่เรียกกันว่า DCA (dollar-cost averaging) การล งทุ นแบบถัวเฉลี่ยต้นทุน โดยล งทุ นเป็นงวด ๆ งวดละเท่า ๆ กัน อาจล งทุ นเป็นร า ยเดือน
ร า ยไตรมาส โดยไม่สนใจว่าร า ค าหุ้นที่เราจะซื้ อตอนนั้นเป็นร า ค าเท่าไร จะขึ้นหรือจะลง การล งทุ นแบบนี้จะเป็นการล งทุ นแบบอัตโนมัติไปเรื่อย ๆ โดยตั้งเป้าห ม า ยเป็นจำนวนเ งิ นที่ ต้องการล งทุ นเป็นหลัก การที่เป็นคนอายุ 30 แต่ยังไม่มีเ งิ นเก็บนั้นไม่ใช่เรื่องที่ผิ ด เพราะทุกคน มีปัจจัยการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันออ กไป แน่นอนว่าคุณควรเริ่มต้นวางแผนการใช้เ งิ น
การออม และการบริหารเ งิ นให้เร็วที่สุด เพราะอีกไม่กี่สิบปีข้างหน้าคุณก็จะเกษียณ หากคุณเริ่มออมและวางแผนการเ งิ นตั้งแต่ตอนนี้ ก็มั่นใจได้เลยว่าชีวิตช่วงเกษียณของคุณจะดีกว่าที่คิด อ ย่ างแน่นอน ปิดท้ายด้วยการมองหาตัวช่วยบริหารเ งิ นดี ๆ อ ย่ าง Kept by krungsri แอปเก็บเ งิ นแนวใหม่จากธนาคารกรุงศรีช่วยเก็บเ งิ นง่ายและสนุกกว่าเดิม ผ่านการทำงานร่วมกันอัตโนมัติ ของ 3 บัญชี ที่ทำหน้าที่เป็นเหมือน 1 กระเป๋า 2 กระปุก (บัญชี Kept, Grow, Fun) แค่ปรับนิด ชีวิตก็เปลี่ยนแล้ว
ที่มา k e p t b y k r u n g s r i fahhsai